ลำดับที่ |
ชื่อเรื่อง |
ผู้ศึกษา |
|
1 |
การวิเคราะห์พื้นที่ที่มีโอกาสเกิดปรากฏการณ์เกาะความร้อนจากอัตราการมองเห็นท้องฟ้า พื้นที่เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร |
ข้าวประดับดิน สงมา |
|
2 |
การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณน้ำบาดาลระดับตื้น |
ณัฐนันท์ กรสุวรรณ |
|
3 |
การตั้งถิ่นฐานของคนไทยเชื้อสายจีนในเขตเทศบาลนครนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ |
เนตรนภา เกตุเทียน |
|
4 |
การเปรียบเทียบปริมาณฝนรายวันระหว่างผลิตภัณฑ์น้ำฝนจากข้อมูลดาวเทียมกับข้อมูลฝนภาคพื้นดิน พื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทย |
อภิษฐา ยอดยิ่ง |
|
5 |
การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงน้ำท่วมโดยกระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์ บริเวณลุ่มน้ำยมตอนล่าง จังหวัดสุโขทัย |
ทับทิม วงศ์ทะดำ |
|
6 |
การศึกษาความหนาแน่นของเมืองจากข้อมูลไลดาร์ กรณีศึกษาเขตดาวทาวน์และเขตสตริป รัฐเพนซิลเวเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา |
กมลฉัตร ศรีจะตะ |
|
7 |
การศึกษาปฏิทินการเพาะปลูกพืชจากผลิตภัณฑ์ข้อมูลดาวเทียมเทอร์ร่าโมดิสหลายช่วงเวลา: กรณีศึกษา จังหวัดอุตรดิตถ์ |
พิมพ์ผกา อ่องแก้ว |
|
8 |
การเปรียบเทียบเทคนิคการจำแนกเชิงจุดภาพและเทคนิคการจำแนกเชิงวัตุของพื้นที่การเกษตรจากข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมไทยโชต: กรณีศึกษา อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ |
เนตรนภา หงษ์ทอง |
|
9 |
การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์และสมการการสูญเสียดินสากล เพื่อประเมินการชะล้างพังทลายของดิน บริเวณลุ่มน้ำแควน้อย จังหวัดพิษณุโลก |
เสาวลักษณ์ สระทองเทียน |
|
10 |
การศึกษาทำเลที่ตั้งของร้านหมูกระทะบุฟเฟ่ต์ในเขตเมืองพิษณุโลก |
ศิริวิมล วงค์คำแสน |
|
11 |
การประยุกต์ใช้ภาพถ่ายทางอากาศหลายช่วงเวลาติดตามการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไม้ อ่างเก็บน้ำท่าดินแดง บริเวณเขตอุทยานแห่งชาติรามคำแหง จังหวัดสุโขทัย |
อดิพงษ์ ช่อรักษ์ |
|
12 |
การประยุกต์ใช้ภาพถ่ายทางถ่ายทางอากาศหลายช่วงเวลาติดตามการเปลี่ยนแปลงบริเวณตอนเหนือของป่าสงวนป่าแม่เติ๊กป่าแม่ถางและป่าแม่กำปอง จังหวัดแพร่ |
กมลวรรณ สิงห์อ้อย |
|
13 |
การวิเคราะห์การเข้าถึงระบบบริการดูแลรักษาสุขภาพเชิงพื้นที่ โดยใช้ NHAIM กรณีศึกษาอำเภอเมืองพิษณุโลก |
อริสรา ปินใจ |
|
14 |
การจัดทำระบบฐานข้อมูลน้ำบาดาลบนระบบเครือข่ายเชิงพื้นที่อำเภอสามง่าม จังหวัดพิจิตร |
โชติรส แก้วดำ |
|
15 |
การกำหนดเขตนิเวศเกษตรในพื้นที่รับน้ำเขื่อนแควน้อยบำรุงแดนส่วนอำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก ด้วยเทคนิคภูมิสารสนเทศ |
ณัฐธิดา จิตรกำเหนิด |
|
16 |
การประยุกต์ข้อมูลจากระยะไกลศึกษาศักยภาพพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังในเขตอำเภอนครไทยและอำเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก |
สุจิตรา เรืองพูล |
|
17 |
การเปรียบเทียบภัยแล้งด้านการเกษตรกรรมด้วยเทคนิคดัชนีเงื่อนไขพืชพรรณ(VCI)และดัชนีมาตรฐานหยาดน้ำฟ้า(SPI)ในเขตอำเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก |
นิปัทม์ บุญแย้ม |
|
18 |
การประยุกต์ใช้ข้อมูลการสำรวจจากระยะไกลศึกษาการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ป่าไม้ระหว่างปี พ.ศ. 2549 และปี พ.ศ. 2559 กรณีศึกษา พื้นที่ป่าในเขตอุทยานแห่งชาติศรีน่าน ในพื้นที่จังหวัดน่าน |
ณัฐกานต์ ไชยชนะ |
|
19 |
การประเมินคุณภาพการมองเห็นภูมิทัศน์พื้นที่ท่องเที่ยวกรณีศึกษา อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ |
กนกพร ทองวัน |
|
20 |
การจัดการทรัพยากรน้ำผิวดิน พื้นที่โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาเขื่อนนเรศวรในฤดูแล้ง ด้วยเทคนิคภูมิสารสนเทศ |
ภูมรินทร์ พันอบ |
|
21 |
การศึกษารูปแบบการใช้น้ำบาดาลเพื่อสนับสนุนการปลูกข้าวในพื้นที่อำเภอลานกระบือ จังหวัดกำแพงเพชร |
เกศวดี สระทองเทียน |
|
22 |
การจัดทำระบบฐานข้อมูลสุขภาวะผู้สูงอายุโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ บนระบบแผนที่ออนไลน์ |
สุปรียา ทาต่อย |
|
23 |
การศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคร้านหมูกระทะบุฟเฟ่ต์ในเขตเมืองพิษณุโลก |
กนกพร อ่ำคง |
|
24 |
การพัฒนาระบบค้นหาเส้นทางที่เหมาะสมที่สุดในการเข้าถึงผู้ป่วยฉุกเฉินบนระบบออนไลน์ในเขตอำเภอเมืองพิษณุโลก |
พัชรา รักษาคม |
|
25 |
การประยุกต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการวิเคราะห์ พื้นที่ให้บริการศูนย์การแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดพิษณุโลก |
ณัฏฐา เวชการ |
|
26 |
การประยุกต์ใช้การสำรวจจากระยะไกลศึกษาการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ป่าไม้ระหว่างปี พ.ศ.2543, พ.ศ.2549, และพ.ศ.2559 กรณีศึกษาพื้นที่ป่าในเขตอุทยานแห่งชาติเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ |
อมรรัตน์ คำน้อม |
|
27 |
วิเคราะห์การพังทลายตลิ่งแม่น้ำยมตอนล่าง ด้วยเทคนิคภูมิสารสนเทศและวิธีการตรรกศาสตร์คลุมเครือ |
สุกัญญา เมืองนก |
|
28 |
การศึกษาเขตพื้นที่บริการตลาดสดในเขตเทศบาลนครพิษณุโลก |
จุฑามาศ สุริยนต์ |
|
29 |
การพัฒนาฐานข้อมูลแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สินบนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต พื้นที่ศึกษา ตำบลพันชาลี อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก |
วรวีร์ วิมล |
|
30 |
การวิเคราะห์หาพื้นที่ที่เหมาะสมในการอพยพกรณีเกิดเหตุการณ์ดินโคลนถล่ม โดยใช้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ กรณีศึกษา ตำบลน้ำไผ่ อำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ |
ชลดา คำจิตตะ |
|
31 |
การศึกษาเรื่องพื้นที่ที่มีโอกาสเกิดหลุมยุบในภูมิประเทศแบบหินปูน โดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ร่วมกับวิธีการพิจารณาแบบหลายกฎเกณฑ์ : กรณีศึกษา ตำบลชมพู อำเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก |
ณัฐญา ชมภูศรี |
|
32 |
การศึกษาความสามารถในการรองรับปริมาณการไหลของน้ำในแม่น้ำโดยใช้แบบจำลองทางอุทกศาสตร์ร่วมกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ : กรณีศึกษาลุ่มน้ำยม อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก |
รุ่งนภา สิงห์รอ |
|
33 |
การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ร่วมกับแบบจำลองทางอุทกศาสตร์ HEC-RAS เพื่อจำลองการไหลของน้ำป่าไหลหลาก กรณีศึกษา : ลำน้ำเข็ก อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก |
จามจุรี ธรรมมัง |
|
34 |
การศึกษาศักยภาพทางกายภาพของพื้นที่สำหรับปลูกสตรอเบอร์รี่ในเขตอำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ |
เรณุกา ปานสี |
|
35 |
การพัฒนาระบบเก็บข้อมูลเชิงพื้นที่ภาคสนามบนระบบแอนดรอยด์ |
ปฏิภาณ คำปินตา |
|
36 |
การใช้ระบบภูมิสารสนเทศพิจารณาพื้นที่เสี่ยงภัยแล้งและจัดทำแผนที่เชิงนิเวศเกษตรในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำยมตอนกลาง : บริเวณอำเภอสอง จังหวัดแพร่ |
มยุรา อินแปลง |
|
37 |
การศึกษาแนวเขตที่ดินของรัฐและปัญหาแนวเขตที่ดินของรัฐที่ครุมเครือ กรณีศึกษาจังหวัดพิษณุโลก |
วีระพงษ์ สังข์แป้น |
|
38 |
การศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ร่วมกับการสำรวจข้อมูลระยะไกล กรณีศึกษา บึงสีไฟ จังหวัดพิจิตร |
ช่อผกา ยอดสุทธิ |
|
39 |
พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมที่เกี่ยวกับทรัพย์ ในอำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก |
ปิยะชัย ถิ่นไทยงาม |
|