ลำดับที่ |
ชื่อเรื่อง |
ผู้ศึกษา |
|
1 |
การใช้จ่ายเงินช่วยเหลือจากรัฐในสถานการณ์วิกฤติโควิด-๑๙ ของประชาชน: กรณีศึกษา ตำบลพลายชุมพล อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก |
ภัทรชมนันต์ ฉิมแว่น |
|
2 |
การศึกษาพฤติกรรมการดำรงชีวิตแบบปรกติใหม่ของประชาชนชาวไทยระหว่างวิกฤตโควิด-๑๙ ที่ปรากฎในสื่อออนไลน์ |
พีรพัฒน์ ใจแก้วมา |
|
3 |
การแพร่ระบาดของโควิด - ๑๙ ในบริบทของภูมิศาสตร์ภูมิภาค |
จิรัญญา ด้วงฟู
|
|
4 |
ความทุกข์ ความสุข และความหวังของคนไทยภายใต้การระบาดของ โควิด-๑๙ : กรณีศึกษา ตำบลบ้านกร่าง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก |
เตชสิทธิ์ คงดี |
|
5 |
การระบาดเชิงพื้นที่ของไวรัสโควิด-๑๙ ในประเทศไทย |
เอกรัตน์ โพธิ์ทอง |
|
6 |
การหาพื้นที่เผาไหม้จากไฟป่าด้วยภาพดาวเทียม Sentinel-2 กรณีศึกษา อำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน |
นวพล ลินต๋า |
|
7 |
การเปรียบเทียบปริมาณฝนรายวันระหว่างข้อมูลผลิตภัณฑ์น้ำฝน IMERG V.06 และข้อมูลฝนภาคพื้นดิน พื้นที่ลุ่มแม่น้ำอิง |
ศิวพร กองจันทร์ |
|
8 |
การศึกษาการขยายตัวของพื้นที่ปลูกอ้อย และ วิเคราะห์ระยะการเจริญเติบโตของอ้อย กรณีศึกษา : อำเภอบางระกำ จังหวัด พิษณุโลก |
สุวลักษณ์ คำมาเมือง |
|
9 |
การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ด้วยข้อมูลดาวเทียม Sentinel-1 พื้นที่ศึกษาอำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย |
กิติศักดิ์ พรมโสภา |
|
10 |
ปัญหาอุบัติเหตุจราจรทางบกในมหาวิทยาลัยนเรศวรและพื้นที่โดยรอบ |
ปกรณ์ พิมพ์สังข์ |
|
11 |
ความหวาดกลัวต่ออาชญากรรมในมหาวิทยาลัยนเรศวรและพื้นที่โดยรอบ |
ยุทธการ แย้มลา |
|
12 |
การตกเป็นเหยื่ออาชญากรรมในสถานศึกษา กรณีศึกษา: มหาวิทยาลัยนเรศวร |
นันทิยา สวัสดิวิชัยโสภิต |
|
13 |
การสร้างแบบจำลองสามมิติของความเสียหายตัวรถยนต์ สำหรับงานตรวจสอบอุบัติเหตุจราจรด้วยวิธีวีดีโอแกรมเมตตรี |
ชัชพล คำแปง |
|
14 |
การสร้างแบบจำลองสามมิติของโบราณสถานสำหรับแบบจำลองสารสนเทศอาคารโบราณสถาน (H-BIM) ด้วยการสำรวจด้วยภาพถ่ายจากอากาศยานไร้คนขับ |
ญาสุมินท์ ใจกว้าง |
|
15 |
การสร้างแบบจำลองสามมิติของโบราณวัตถุสำหรับความจริงเสมือนด้วยการสำรวจด้วยภาพถ่ายระยะใกล้ |
จิตติวัฒน์ ต้นนามน |
|
16 |
การสร้างแบบจำลองสามมิติของโบราณวัตถุสำหรับความจริงเสมือนด้วยการสำรวจด้วยภาพถ่ายระยะใกล้ |
ศิริพร เสนานุช |
|
17 |
การพัฒนาระบบเซนเซอร์สำหรับตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูลแบบเรียลไทม์ เพื่อประยุกต์ใช้งานด้านเกษตรแม่นยำด้วยเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง |
นัทกมล ผินนอก |
|
18 |
การพัฒนานวัตกรรมในการจัดการฟาร์มเลี้ยงไก่พื้นเมือง เพื่อยกระดับการผลิตและเพิ่มมูลค่าสู่มาตรฐานด้านการตลาดสำหรับเกษตรกรรายย่อย |
เบญจภา คงสุข |
|
19 |
การเปรียบเทียบความถูกต้องเชิงตำแหน่งและปริมาณของข้อมูล OpenStreetMapในจังหวัดพิษณุโลก เทียบกับ Google Map และ ข้อมูลของหน่วยงานภาครัฐด้วยซอร์ฟแวร์รหัสเปิดสำหรับเทคโนโลยีระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ |
อริสรา บุญคง |
|
20 |
การพัฒนาระบบตรวจวัดคุณภาพอากาศสำหรับการประเมินและตรวจสอบคุณภาพอากาศภายในมหาวิทยาลัยนเรศวรด้วยเทคนิค IoT และ GIS |
สายชล สุขโนนจารย์ |
|
21 |
ศึกษาผลกระทบจากภัยแล้งต่อเกษตรกรการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในเขตพื้นที่อำเภอแม่พริกจังหวัดลำปาง |
วรพล ชัยยะวงศ์ |
|
22 |
การประยุกต์ใช้เทคนิคการสำรวจข้อมูลระยะไกลเพื่อศึกษาการใช้ประโยชน์ที่ดินและการพยากรณ์ผลผลิตข้าว ในเขตตำบลลานบ่า อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ |
ศุภรัตน์ นวลเกตุ |
|
23 |
การใช้เทคนิค NDVI กับ NDBI ในการติดตามการเจริญเติบโตของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์กรณีศึกษา อำเภอแม่พริก จังหวัดลำปาง |
ศิรินธร ทองคำ |
|
24 |
การวิเคราะห์ตำแหน่งที่ตั้งที่เหมาะสมของโรงงานน้ำตาล ในเขตจังหวัดกําแพงเพชร ด้วยเทคนิควิเคราะห์เชิงลำดับศักดิ์และเทคนิคพื้นผิวเชิงสถิติแบบ kriging surface แหล่งน้ำใต้ดิน |
ทัศนีย์ แคน้อย |
|
25 |
การศึกษาพื้นที่ประสบภัยแล้งทางการเกษตรในฤดูกาลเพาะปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ กรณีศึกษา อำเภอแม่พริก จังหวัดลำปาง |
ชนากานต์ เสริมสุข |
|
26 |
การประยุกต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อจัดสรรจุดจอดรถฉุกเฉินสำหรับบริการผู้สูงอายุ กรณีศึกษา พื้นที่เมือง จังหวัดพิษณุโลก |
เสาวลักษณ์ เทียนส้ม |
|
27 |
การเปรียบเทียบข้อมูลประชากรในประเทศไทยจากข้อมูลการแลกเปลี่ยนข้อมูลด้านมนุษยธรรมและข้อมูลของกรมการปกครอง |
สุวนันท์ สุขเจริญ |
|
28 |
การพัฒนาเว็บแอปพลิเคชันเพื่อวิเคราะห์ความสามารถในการเข้าถึงการบริการการแพทย์ฉุกเฉินสำหรับผู้สูงอายุในประเทศไทย |
วิจิตรา นาคแดง |
|
29 |
แผนที่ความยากจนในเขตลุ่มน้ำยม กรณีศึกษา ตำบลไกรนอก อำเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย |
พรมพร สุดแสง |
|
30 |
ศึกษาศักยภาพการเพาะปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ :กรณีศึกษา เกษตรกรอำเภอแม่พริก จังหวัดลำปาง |
สาธิต จันทร์เอี่ยม |
|